บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2018

ผู้จัดทำ

น.ส ศิริลักษณ์  โตมา ม.4/6 เลขที่15 น.ส อัศศิยา  มิหรน  ม.4/6 เลขที่25 น.ส สุชิราภรณ์   ผิวพรรณ์ ม.4/6 เลขที่25

แบบฝึกหัด

1. สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวมีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง   ตอบ      2 แบบ คือมนุษย์กระทำและเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ   2. คลื่นไหวสะเทือนเกิดจากอะไร   ตอบ        เกิดจากการปลดปล่อยของโลก การกระจายคลื่น   3. คลื่นเลิฟมีผลกระทบอย่างไร   ตอบ        เป็นคลื่นที่สามารถทำให้ถนนขาด   4. คลื่นเรย์ลีมีผลกระทบอย่างไร   ตอบ        เป็นคลื่นที่ทำให้บ้านเมืองเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก    5. คลื่นเลิฟและเรย์ลีมีลักษณะต่างกันอย่างไร    ตอบ         คลื่นเลิฟมีลักษณะเป็นคลื่น                  คลื่อนเรย์ลีมีลักษณะเป็นวงกลม   6.  รอยเลื่อนย้อน มีลักษณะแบบใด   ตอบ   เป็นรอยเลื่อนที่หินเพดา เลื่อนขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น 7. ระบบแจ้งเตือนคลื่นสึนามิระบบแรกของโลกถูกจัดตั้งขึ้นโดยประเทศใด ตอบ    ประเทศสหรัฐอเมริกา  8. แผ่นดินไหวคืออะไร ตอบ        ปรากฏารณ์ธรรมชาติซึ่งเกี่ยวเนื่องกับกระบวนธรณีแปรสัณฐาน มักเกิดขึ้นในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี เนื่องจากเป็นบริเวณที่เกิดกระบวนการธรณีแปรสัณฐานล  9. เราเรียกจุดกำเนิดของคลื่นไหวสะเทือนว่าอะไร ตอบ      ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ 1.  บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่ ก. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย ข. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ ค. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก ง. บริเวณใจกลางแผ่นยูราเซียน ( Eurasian plate) 2. ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวในขณะที่นักเรียนอยู่บนอาคารสูง ควรปฏิบัติตนอย่างไร ก. รีบวิ่งลงบันได ข. รีบลงชั้นล่างโดยใช้ลิฟต์ ค. มุดเข้าใต้โต๊ะภายในอาคาร ง. ไปที่หน้าต่าง เพื่อขอความช่วยเหลือ 3. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหวอันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใดมากที่สุด ก. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก ข. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย ค. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา ง. แผ่นแอนตาร์กติกกับแผ่นออสเตรเลีย- อินเดีย 4.  มาตราที่ใช้วัดความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหว คือข้อใด ก. ริกเตอร์ ข. เมอร์แคลลี ค. โมลด์ ง.    เวอร์นเวิร์ด 5.  แนวการเกิดแผ่นดินไหวของโลกในข้อใดมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด ก. แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย ข. แนวแถบหมู่เกาะอันดามัน ค. แนวล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก ง. แนวสันกลางมหาสมุทรแอตแลนติก 6. แผ่นดินไหวความรุนแรง  7  หรือ  5.5 – 6.