บทความ

ผู้จัดทำ

น.ส ศิริลักษณ์  โตมา ม.4/6 เลขที่15 น.ส อัศศิยา  มิหรน  ม.4/6 เลขที่25 น.ส สุชิราภรณ์   ผิวพรรณ์ ม.4/6 เลขที่25

แบบฝึกหัด

1. สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหวมีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง   ตอบ      2 แบบ คือมนุษย์กระทำและเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ   2. คลื่นไหวสะเทือนเกิดจากอะไร   ตอบ        เกิดจากการปลดปล่อยของโลก การกระจายคลื่น   3. คลื่นเลิฟมีผลกระทบอย่างไร   ตอบ        เป็นคลื่นที่สามารถทำให้ถนนขาด   4. คลื่นเรย์ลีมีผลกระทบอย่างไร   ตอบ        เป็นคลื่นที่ทำให้บ้านเมืองเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก    5. คลื่นเลิฟและเรย์ลีมีลักษณะต่างกันอย่างไร    ตอบ         คลื่นเลิฟมีลักษณะเป็นคลื่น                  คลื่อนเรย์ลีมีลักษณะเป็นวงกลม   6.  รอยเลื่อนย้อน มีลักษณะแบบใด   ตอบ   เป็นรอยเลื่อนที่หินเพดา เลื่อนขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น 7. ระบบแจ้งเตือนคลื่นสึนามิระบบแรกของโลกถูกจัดตั้งขึ้นโดยประเทศใด ตอบ    ประเทศสหรัฐอเมริกา  8. แผ่นดินไหวคืออะไร ตอบ        ปรากฏารณ์ธรรมชาติซึ่งเกี่ยวเนื่องกับกระบวนธรณีแปรสัณฐาน มักเกิดขึ้นในบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณี เนื่องจากเป็นบริเวณที่เกิดกระบวนการธรณีแปรสัณฐานล  9. เราเรียกจุดกำเนิดของคลื่นไหวสะเทือนว่าอะไร ตอบ      ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว

แบบทดสอบ

แบบทดสอบ 1.  บริเวณบนผิวโลกที่เกิดแผ่นดินไหวบ่อยมากที่สุดได้แก่ ก. แนวรอยต่อภูเขาแอลป์กับภูเขาหิมาลัย ข. บริเวณวงแหวนแห่งไฟ ค. บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก ง. บริเวณใจกลางแผ่นยูราเซียน ( Eurasian plate) 2. ถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวในขณะที่นักเรียนอยู่บนอาคารสูง ควรปฏิบัติตนอย่างไร ก. รีบวิ่งลงบันได ข. รีบลงชั้นล่างโดยใช้ลิฟต์ ค. มุดเข้าใต้โต๊ะภายในอาคาร ง. ไปที่หน้าต่าง เพื่อขอความช่วยเหลือ 3. ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหวอันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณีภาคคู่ใดมากที่สุด ก. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก ข. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย-อินเดีย ค. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา ง. แผ่นแอนตาร์กติกกับแผ่นออสเตรเลีย- อินเดีย 4.  มาตราที่ใช้วัดความรุนแรงของการเกิดแผ่นดินไหว คือข้อใด ก. ริกเตอร์ ข. เมอร์แคลลี ค. โมลด์ ง.    เวอร์นเวิร์ด 5.  แนวการเกิดแผ่นดินไหวของโลกในข้อใดมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด ก. แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย ข. แนวแถบหมู่เกาะอันดามัน ค. แนวล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก ง. แนวสันกลางมหาสมุทรแอตแลนติก 6. แผ่นดินไหวความรุนแรง  7  หรือ  5.5 – 6.

แผ่นดินไหว

รูปภาพ
แผ่นดินไหว (E arthquake) แผ่นดินไหวเป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติที่มีสาเหตุมาจากการปลดปล่อยพลังงานจากความเครียดที่เก็บอยู่ในหินใต้ผิวโลกอย่างทันทีทันใด กล่าวคือเป็นกระบวนการที่พื้นที่บนโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเด่นชัด เมื่อ แรงเค้น ( stress) ที่เกิดขึ้นตามรอยแตก หรือรอยเลื่อนที่เกิดขึ้นบนเปลือกโลก ภายในโลกถูกปลดปล่อยขึ้นมาสู่พื้นผิวโลกแผ่นดินไหวจากธรรมชาติเป็นธรณีพิบัติภัยชนิดหนึ่ง โดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอยเลื่อน ภายในชั้นเปลือกโลกที่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้างของโลก มีการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อยู่เสมอ แผ่นดินไหวจะเกิดขึ้นเมื่อความเค้นอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงมีมากเกินไป ภาวะนี้เกิดขึ้นบ่อยในบริเวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลก ที่ที่แบ่งชั้นเปลือกโลกออกเป็น ธรณีภาค ( lithosphere) เรียกแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นบริเวณขอบเขตของแผ่นเปลือกโลกนี้ว่า แผ่นดินไหวระหว่างแผ่น ( interplate earthquake) ซึ่งเกิดได้บ่อยและรุนแรงกว่า แผ่นดินไหวภายในแผ่น ( intraplate earthquake) แผ่นดินไหวจากธรรมชาติแผ่นดินไหวจากการกระทำของมนุษย์มีทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การระเบิด การทำเหม

สีนามิ

รูปภาพ
สึนามิ  ( Tsunami ) Tsunami ( สึนามิ) เป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลื่นค่อนข้างมาก และช่วงห่างระยะเวลาของแต่ละลูกคลื่นยาวนาน เกิดจากการเคลื่อนตัวของพื้นทะเลในแนวดิ่ง จมตัวลงในแนวรอยเลื่อน หรือการที่มวลของน้ำ ถูกกระตุ้นหรือรบกวน โดยการแทนที่ทางแนวดิ่งของมวลวัตถุ สึนามิสัมพันธ์กันกับการเกิด แผ่นดินไหว ( earthquakes) แผ่นดินถล่ม ( submarine landslides) หรือการระเบิดของภูเขาไฟใต้ทะเล ( submarine volcanic eruptions) หรือแม้กระทั่งการกระทบของอนุภาคขนาดใหญ่ เช่น อุกกาบาต ซึ่งเหตุการณ์ทั้งหมดนี้ สามารถก่อให้เกิดคลื่นสึนามิได้ สึนามิ เป็นคำมาจากภาษาญี่ปุ่น ซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า harbor wave หรือคลื่นที่เข้าสู่อ่าว ฝั่ง หรือ ท่าเรือ โดยที่คำว่า Tsu หมายถึง harbor แปลว่า อ่าว ฝั่ง หรือ ท่าเรือ ส่วนคำว่า Nami หมายถึง คลื่น

ภูเขาไฟ

รูปภาพ
ภูเขาไฟ ( Volcanoes) ภูเขาไฟ เป็นธรณีสัณฐานที่หินหนืดปะทุผ่านขึ้นมายังพื้นผิวของดาวเคราะห์ ภูเขาไฟมักเกิดขึ้นใกล้กับแนวรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก อย่างไรก็ตาม ยังมีภูเขาไฟที่เป็นข้อยกเว้น เรียกว่า จุดร้อนภูเขาไฟ ( Volcanic Hotspot) วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับภูเขาไฟ เรียกว่า วิทยาภูเขาไฟ ( vulcanology หรือ volcanology) ภูเขาไฟมีพลัง ( Active Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่เคยมีประวัติถูก บันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น จัดว่าเป็นภูเขาไฟยังมีพลังอยู่ เช่น ภูเขาไฟเอตนา ในเกาะซิซิลี ของประเทศอิตาลี   ภูเขาไฟที่สงบ ( Dormant Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น และไม่มีการผุพัง จัดว่าเป็นภูเขาไฟที่สงบมันอาจเกิดการระเบิดเมื่อใดก็ได้ เช่น ภูเขาไฟ วิสุเวียส ในประเทศอิตาลี  ภูเขาไฟที่ดับแล้ว ( Extinct Volcanoes) หมายถึง ภูเขาไฟที่ไม่เคยถูกบันทึกว่ามีการระเบิดเกิดขึ้น เช่น ไม่มีไอน้ำร้อนขึ้นมา หรือไม่มีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้น ๆ ภูเขาไฟประเภทนี้จัดเป็นประเภทภูเขาไฟที่ดับแล้ว เช่น ภูเขาไฟหลวง จังหวัดสุโขทัย จำแน